ขั้นตอนหาเงินล้าน จากการขายบทความ ทำได้จริงไหม

สาระเพื่อนักเขียน

     สำหรับความคิดว่า การเป็นนักเขียนนั้น มักจะไส้แห้งอยู่เสมอ ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว การเขียนบทความนั้น สามารถทำเงินได้มากกว่าที่ใครหลายคนคิด และในวันนี้เราจะมาบอกวิธีหาเงินล้าน จากการเขียนบทความขาย โดยมีรายละเอียดและขั้นตอน ดั่งต่อไปนี้

1. รู้จักบทความทำเงิน

หลายคนอาจคิดว่า การที่จะทำเงินจากงานเขียนนั้น จะได้ก็ต่อเมือมีสำนักพิมพ์ หรือนิตยสารมารับบทความไปลงตีพิมพ์ แต่ปัจจุบัน ช่องทางหาเงินจากงานเขียน มีวิธีที่ง่ายกว่านั้น เนื่องจากเว็บไซต์มีเกิดขึ้นมาก และมีเพิ่มมากขึ้นทุกวัน โดยในแต่ละเว็บไซต์ล้วนต้องการบทความทั้งนั้น

2. ใครสามารถทำได้บ้าง

สำหรับการเขียนบทความนั้น สามารถได้ตั้งนักเรียนมัธยมปลาย ไปคนถึงคนวัยทำงาน หรือคนวัยวัยเกษียณ ก็สมารถทำได้ ขอเพียงบทความนั้นมีประโยชน์ ไม่เป็นเรื่องผิดกฎหมาย หรือสร้างความเดือดร้อยให้กับใคร แต่ถ้าจะให้ดีไปกว่านั้น บทความควรเป็นเรื่องเกี่ยวข้องธุรกิจ เพราะสามารถขายได้ง่ายกว่าแนวอกหัก หรือการเล่าเรื่องส่วนตัว

3. ลงขายที่ไหนดี

สำหรับการขายบทความที่คุณได้เขียนขึ้นมานั้น อาจลงประกาศขายในเว็บไซต์ต่าง ๆ เช่น กลุ่มซื้อขายบทความ เป็นต้น หรือหากยังไม่มีบทความ ลองลงประกาศรับเขียนบทความ เพราะนักเขียนส่วนใหญ่แล้ว มีงานแน่นคิวเต็ม ทำกันแทบไม่ทันเลยทีเดียว เพราะงานแต่ละชิ้นนั้น ต้องใช้เวลาอย่างต่ำ 2 – 3 วัน และยิ่งเป็นงานยาก ที่มีรายละเอียดเยอะ ก็ยิ่งใช้เวลาทำนานขึ้นตามไปด้วย

4อุปกรณ์ในการเขียนบทความ

โดยอุปกรณ์ในการเขียนบทความนั้น มีให้เลือกอย่างหลากหลาย แต่พื้นฐานที่สุดคงต้องเป็นคอมพิวเตอร์ หรือโน๊ตบุ๊ค และหากใครกำลังหาโน๊ตบุ๊ค เพื่อมาใช้งาน แนะนำให้ใช้ขนาดตั้งแต่ 10 นิ้วขึ้นไป เพราะเวลาค้นหาข้อมูลจะมีความสะดวกกว่า อีกทั้งราคาแต่ละรุ่นยังไม่แพงมาก ควรมีกล้อง 5 ล้านพิกเซล จะสามารถถ่ายภาพให้คมชัด ไม่ต้องเสียเวลาถ่ายเอกสาร

5. สำรวจบทความที่ได้รับความนิยม

บทความนั้นมีหลายประเภท แต่วิธีหาเงินล้าน จากการเป็นนักเขียนนั้น ต้องเลือกบทความที่เป็นนิยม เช่น ข่าว กีฬา คอมพิวเตอร์ สุขภาพ สมาร์ทโฟน ธุรกิจ ไอที เป็นต้น หรืออาจลองเข้าเว็บไซต์ต่าง ๆ แล้วดูว่า โฆษณาของ Google มีเกี่ยวกับเรื่องอะไรบ้าง และนั่นคือเรื่องที่คุณควรจะเขียนทำเป็นบทความนั่นเอง

6. รูปแบบการเขียน

ซึ่งรูปแบบการเขียนบทความ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ เขียนจากประสบการณ์จริง หรือเรื่องที่เราเคยพบเจอมาก่อน เนื่องจากเป็นเรื่องง่าย ไม่ต้องหาข้อมูลที่ไหน แต่กรณี้นี้ เหมาะสำหรับผู้ทำงานเฉพาะทาง เช่น แพทย์ วิทยากร นักวิชาการ นักกีฬา นักท่องเที่ยว เกมเมอร์ เป็นต้น